การหาค่าเกณฑ์การพัฒนาเว็บไซต์ตามมาตรฐาน Webometrics
1.การทำ Sitemap เพื่อหาจำนวนหน้าเพจและลิงค์ไฟล์เอกสาร .pdf
การสร้าง Sitemap เพื่อสำรวจหน้าเว็บ และแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์ของเรา ให้สร้างปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อ Search Engine เช่น Google,Yahoo โดยผู้พัฒนาเว็บสามารถเข้าใช้บริการเครื่องมือการทำ Sitemap ได้ที่ https://www.xml-sitemaps.com/
วันนี้จะพูดถึง 11 สิ่งที่คุณเข้าใจผิดกับการทำงานของคุณซึ่งคุณคิดว่ามันจะเป็นผลดีต่อ SEO แต่ว่ามันไม่ใช่เลย
1. Keyword ผมลองไป view source มาหลายเว็บ โอ้โหไม่รู้จะใส่อะไรกันนักหนา เพราะคนยังเข้าใจกันเยอะอยู่ว่ายิ่งใส่เยอะยิ่งดี ซึ่งจริงๆ
แล้วมันห้ามใส่เกิน 70 ตัวอักษร เพราะถ้าเกิน Search Engine ก็ตัดส่วนที่เกินทิ้งอยู่ดี และ บางเว็บใส่ไปแม้กระทั่งสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับเว็บไซด์
ด้วยซ้ำ ซึ่งนั่นนอกจะไม่ช่วยอะไรเรื่อง SEO แล้วยังเป็นการทำลายเว็บท่านเองอีก
เกณฑ์การประเมินและตัวชี้วัด (Web Indicators)
เกณฑ์ชี้วัด เมื่อปี 2007-2011
Size (20%) = จำนวน web pages ภายใต้ โดเมนสถาบัน.ac.th ที่สืบค้นได้โดย Search Engines
Rich Files (15%) = จำนวนไฟล์เอกสาร documents (.pdf, .ps, .doc, ppt, .xls)
Visibility (50%) = จำนวนลิงค์ที่มีการเชื่อมโยงมาจากเว็บภายนอกทั่วโลก external inlinks ที่สืบค้นได้โดย Search Engines
Scholar (15%) = จำนวนบทความวิชาการ ที่ถูกสืบค้นด้วย Google Scholar (วัดโดย google scholar)
Webometrics Ranking คืออะไร
- เกิดจากความเชื่อที่ว่า Web จะเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก
- Webometrics จึงเป็นการวัดปริมาณเนื้อหาที่สร้างขึ้น
- เน้นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ผ่านทางเว็บไซต์ การปรากฎตัวบนอินเตอร์เน็ต
- และดูจำนวน Link จากเว็บไซต์ภายนอกทั่วโลกที่ทำ Link มายังเว็บเพจ หรือวัดผลกระทบการอ้างอิง
- ตามจำนวนของ link ที่ได้รับจากภายนอก (external inlinks / sitations หรือ site citations)
- การประกาศผลจัดอันดับจะทำทุกเดือนมกราคม และกรกฎาคมของทุกปี มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004
- ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดอันดับคุณภาพของสถาบันการศึกษาแต่อย่างใด
- เป็นเพียงดัชนีชี้วัดความสามารถในการผลิต web publications และความเป็น open access ของ มหาวิทยาลัยนั้นๆ
- วัดความสามารถในการเป็น "มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (E-university)"